Manoch Petchdee-ARTI3314
Graphic Design on Package : การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2554
งานออกแบบส่วนบุคคลโครงการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ข้าวโพดหวาน
ข้าวโพด Corn
ที่มาของรูป http://www.agmrc.org/media/cms/swcorn_BDEC10B87D1D0.jpgการจำแนกชนิดข้าวโพด
1. ข้าวโพดไร่หรือข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นชนิดที่ปลูกเพื่อการส่งออกเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์
2. ข้าวโพดที่รับประทานแบบฝักสดมีหลายแบบ แยกได้ดังนี้
รูปข้าวโพดคั่ว
อ่อน (Baby Corn) เป็นพืชที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้น นับตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวฝักอ่อน ใช้เวลาเพียง 60-75 วันเท่านั้นสามารถปลูกได้ตลอดปีนิยมนำมาบรรจุกระป๋องหรือขาย
เป็นฝักสด
3. ปอปคอร์น (PopCorn) ข้าวโพดชนิดนี้มีคุณสมบัติแตกฟูได้ดีเมื่อถูกความร้อนอาจเป็น
เพราะเอนโดสเปอร์มหรือส่วนเนื้อในของเมล็ดไม่มีเยื่อหุ้มเมล็ด (seedcoat) นิยมบริโภคใน
รูปข้าวโพดคั่วโดยนำเมล็ดที่แก่แห้งแล้วมาคั่วให้แตกข้าวโพดชนิดนี้ส่วนใหญ่ต้องนำ-
เข้าจากต่างประเทศ
การใช้ประโยชน์ของข้าวโพดในรูปของอาหาร
อาจมีแตกต่างกันไป อย่างไรก็ตามคุณภาพและรสชาติความหวานของข้าวโพดรับประ
ทานฝักสดจะขึ้นอยู่กับ
- อายุการเก็บเกี่ยวควรเก็บในช่วงระยะเวลาที่พอเหมาะเมล็ดโตเต็มที่หรือไหมเริ่มมีสีน้ำ
ตาล เช่น ข้าวโพดหวานควรเก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุประมาณ 65-70 วัน หลังปลูก
- ระยะเวลาการบริโภคภายหลังการเก็บเกี่ยวหรือเมื่อหักฝักจากต้นแล้วคุณภาพและรส
ชาติความหวานจะเริ่มลดลงยิ่งเก็บไว้นานก็ยิ่งจืดและเหนียวขึ้นทุกทีเนื่องจากน้ำตาลใน
เมล็ดข้าวโพดเปลี่ยนเป็นแป้งหมด
- การเก็บรักษาอุณหภูมิหรือแสงแดดจะทำให้ความหวานของเมล็ดข้าวโพลดดลงอย่าง
รวดเร็ว จึงควรเก็บในที่เย็นเพื่อช่วยรักษาคุณภาพและรสชาติไว้ได้บ้าง
ยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น และฮ่องกงที่ซื้อข้าวโพดอ่อนบรรจุกระป๋องจากประเทศไทยเป็นสินค้า
อีกชนิดหนึ่งที่นำมูลค่าส่งออกสูงให้ประเทศ
เป็นฝักแรก จะเจริญเติบโตเร็วมากและฝักอื่นๆถัดต่ำลงมาการหักฝักควรให้ติดลำต้นไป
ด้วยเพราะทำให้มองเห็นต้นที่เก็บเกี่ยวแล้วได้ต้นหนึ่งสามารถเก็บฝักอ่อนไ ด้2-3 ฝักเป็น
อย่างน้อย อายุการเก็บเกี่ยว 48-50 วัน หลังปลูกและมีช่วงระยะเวลาเก็บเกี่ยว 7-10 วัน
- ระยะเวลาบริโภคเมื่อเก็บแล้ว ควรประกอบอาหารรับประทานทันทีจะทำให้ได้คุณภาพ
และรสชาติดี
- การเก็บรักษาควรเก็บในที่เย็นจะช่วยรักษาคุณภาพและรสชาติได้บ้าง
บด บีบน้ำออกแล้วนำมานึ่งรับประทาน ส่วนประเทศแถบทวีปอเมริกากลางและใต้มีผลิต
ภัณฑ์ข้าวโพดที่นิยมบริโภคเป็นอาหารหลักคือ ทอร์ทิลลา (Tortilla) โดยใช้เมล็ดข้าวโพด
แก่ทั้งเมล็ดแช่ในน้ำด่าง นำมาบดบีบน้ำออก นำมารีดแล้วตัดเป็นแผ่นบาง ๆ ทิ้งให้หมาด นำมาทอด รับประทานกับถั่วบดผสมเนื้อและใส่เครื่องเทศ
ว่าคอร์นมิล (cornmeal) และชนิดละเอียดเรียกแป้งข้าวโพด (cornflour) นอกจากนั้นยังมี
ผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งข้าวโพดในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เป็นอาหารเช้า (breakfast cereal) และขนมปังข้าวโพด ใช้เป็นแป้งชุบทอด ใช้เป็นน้ำซุปข้นราดบนอาหารหลายชนิด
ตาม
จัดเป็นน้ำมันที่มีคุณภาพดีและมีประโยชน์เหมาะแก่การบริโภคมากชนิดหนึ่งใช้ในการ
ประกอบอาหารหลายชนิด เช่น ทำน้ำมันสลัด ทำขนม ใช้ทอดอาหารต่าง ๆ
การใช้ประโยชน์อื่นๆ
ไฟฟ้าซังข้าวโพดแห้งใช้เป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มได้
การปลูกข้าวโพดหวาน (SWEET CORN)
ข้าวโพดหวาน อยู่ใน ตระกูล Gramineae ซึ่งเป็น ตระกูลเดียวกับหญ้าหรือข้าว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zeamays Line var. rugasa หรือ saccharata ข้าวโพดหวานมีคุณประโยชน์มากมาย นอกจากจะใช้ รับประทานเป็นผักสดแล้วยังสามารถนำไปแปรรูปได้ หลาย รูปแบบ เช่น ข้าวโพดหวานบรรจุึกระป๋องทั้งฝัก หรือบรรจุกระป๋องเฉพาะเมล็ด ทำครีมข้าวโพดหวาน ข้าวโพดแช่แข็ง ซึ่งผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เหล่านี้ สามารถส่งไปจำหน่ายยังตลาดต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน และกลุ่มประเทศในแถบยุโรปฤดูปลูก
ข้าวโพดหวานมีคุณภาพดีและมีความหวานสูง
การเตรียมแปลงปลูก
ปุ๋ยคอกหรือหว่านปูนขาวเพื่อปรับ สภาพดินควรใส่ในช่วงนี้ แล้วจึงไถพรวนอีกครั้ง จากนั้นวัดระยะห่างระหว่างแถวประมาณ 80-100 เซนติเมตร ความยาวขึ้นอยู่กับ พื้นที่ ทำการขุดเป็นร่องลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร ถ้าหากสภาพดินแห้งไม่มีความชื้น ควรปล่อยน้ำเข้าตามร่อง หรือทำให้ดิน มีความชื้นบริเวณการปลูกข้าวโพดหวาน
ให้รีบปลูกซ่อมทันที
การปฏิบัติดูแลรักษาข้าวโพดหวาน
ในอัตรา 1:1 (ประมาณ 50 ก.ก./ไร่) โดยหว่านที่ร่องน้ำข้างๆ ต้น แล้วกลบโคนต้น
ครั้งที่ 2 เมื่อข้าวโพดหวานเริ่มติดฝักอ่อนโดยการใส่ปุ๋ยสูตร 14-14-21 หรือ 13-13-21 อัตราประมาณ 50 ก.ก./ไร่ โดยหว่าน ที่ร่องพื้นแล้วกลบโคนต้น
-การให้น้ำให้น้ำอย่างสม่ำเสมออย่าให้ขาดน้ำโดยปล่อยเข้าตามร่องนให้แบบสปริงเกอร์
- การกำจัดวัชพืช กระทำพร้อมๆ กับการกลบโคนต้นและการให้ปุ๋ย
- การฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดโรคและแมลง การปลูกข้าวโพดหวานต้องระวังในเรื่องของหนอนเจาะฝัก หรือเจาะลำต้น ควรฉีดพ่น ยาพวกคาร์บาริล หรือยาพวกถูกตัวตาย เช่น เมทโธมิล
การเก็บเกี่ยวและการรักษา
ควรเลือกเก็บเกี่ยวในระยะที่มีน้ำตางสูงที่สุด และคุณภาพดีที่สุด หรือระยะที่เรียกว่า ระยะน้ำนม(Milk Stage) หากเลยระยะนี้ไปแล้วปริมาณน้ำตาลจะลดลงและมีแป้งเพิ่มขึ้น
การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานมีหลักพิจารณาง่ายๆ คือ
และนิยมกระทำกัีนมากที่สุดการเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานควรเก็บเกี่ยวในเวลาเช้าตรู่และ
รีบส่งตลาดทันที ไม่ควรทิ้งไว้เกิน 24 ชั่วโมง เพราะจะทำให้น้ำตาลลดลง
แหล่งที่มาของข้อมูล
http://web.ku.ac.th/agri/cornn/corn_b.htm
http://www.vegetweb.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%99/
_____________________________________________________________________
ข้าวโพดเป็นธัญพืชที่สำคัญมากพืชหนึ่งของโลกผลผลิตประมาณครึ่งหนึ่งใช้เป็นอาหารมนุษย์นอกจากนั้นใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์และอื่นๆข้าวโพดมีถิ่นกำเนิดแถบบริเวณประเทศตะวันตกและเป็นที่นิยมบริโภคกันแถบประเทศทวีปอเมริกากลางและใต้สำหรับ-
ประเทศไทยข้าวโพดเป็นที่รู้จัก และนิยมบริโภคในรูปอาหารว่างระหว่างมื้ออาหารมาช้านานแล้วและยังมีการปลูกข้าวโพดเพื่อการเลี้ยงสัตว์กันมากจนถึงปัจจุบันข้าวโพดนับเป็นพืชเศรษฐกิจทีสำคัญของประเทศอีกด้วย
1. ข้าวโพดไร่หรือข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นชนิดที่ปลูกเพื่อการส่งออกเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์
2. ข้าวโพดที่รับประทานแบบฝักสดมีหลายแบบ แยกได้ดังนี้
2.1 ข้าวโพดเทียน มีขนาดต้นเล็ก ฝักเล็กเรียว เมล็ดมนกลม สีเหลืองอ่อน มีรสชาตินุ่มนวลหวานอร่อย
2.2 ข้าวโพดข้าวเหนียว (Glutinous Corn) จะมีฝักและเมล็ดใหญ่กว่าข้าวโพดเทียน เมล็ดสีขาวฝักสดเมื่อต้มรับประทานจะมีลักษณะเหนียวมันคล้ายข้าวเหนียวเพราะมีอะไม-
โลเปคตินมาก (อยู่ในรูปของแป้ง) เมื่อเมล็ดข้าวโพดแก่และแห้งแล้วนิยมนำไปบริโภคในรูปข้าวโพดคั่ว
2.3 ข้าวโพดหวาน (SweetCorn) ข้าวโพดชนิดนี้เมื่อสดจะมีรสหวานอร่อยเนื่องจาก
มีน้ำตาลกลูโคสมา ก(อยู่ในรูปของแป้ง)เ มื่อแก่ฝักจะแห้งและเมล็ดเหี่ยวย่นข้าวโพดฝักอ่อน (Baby Corn) เป็นพืชที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้น นับตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวฝักอ่อน ใช้เวลาเพียง 60-75 วันเท่านั้นสามารถปลูกได้ตลอดปีนิยมนำมาบรรจุกระป๋องหรือขาย
เป็นฝักสด
3. ปอปคอร์น (PopCorn) ข้าวโพดชนิดนี้มีคุณสมบัติแตกฟูได้ดีเมื่อถูกความร้อนอาจเป็น
เพราะเอนโดสเปอร์มหรือส่วนเนื้อในของเมล็ดไม่มีเยื่อหุ้มเมล็ด (seedcoat) นิยมบริโภคใน
รูปข้าวโพดคั่วโดยนำเมล็ดที่แก่แห้งแล้วมาคั่วให้แตกข้าวโพดชนิดนี้ส่วนใหญ่ต้องนำ-
เข้าจากต่างประเทศ
ส่วนประกอบและคุณค่าทางอาหาร
ข้าวโพดจัดเป็นอาหารจำพวกแป้งเช่นเดียวกับข้าวประกอบด้วยสารอาหารคาร์โบไฮเดรทและไขมันที่เพียงพอ แต่มีปริมาณสารอาหารโปรตีนต่ำ ข้าวโพดมีวิตามินบีต่างๆ เช่นวิตามินบี1 วิตามินบี2 และไนอะซินในปริมาณต่ำรวมทั้งปริมาณแคลเซียมและเหล็ก
ด้วย และพบว่าวิตามินเอ มีเฉพาะในข้าวโพดสีเหลืองสารอาหาร | ประโยชน์ |
1. คาร์โบไฮเดรท | ในส่วนเนื้อในของเมล็ดข้าวโพดที่แก่จัด มีสารอาหารคาร์โบไฮเดรท |
ประมาณร้อยละ 72 จึงจัดเป็นอาหารจำพวกแป้งที่ให้พลังงาน คือ | |
1 กรัม ให้พลังงาน 4 แคลอรี่ | |
2. ไขมัน | เมล็ดข้าวโพดที่แก่จัดมีไขมันอยู่ประมาณร้อยละ 4 สามารถสกัดเป็น |
น้ำมันใช้ประกอบอาหาร น้ำมันข้าวโพดมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวโดยเฉพาะ | |
กรดไลโนเลอิก ซึ่งเป็นกรดไขมันที่จำเป็นในปริมาณสูงถึงร้อยละ 40 | |
ซึ่งจะมีฤทธิ์ควบคุมโคเลสเตอรอลให้อยู่ในระดับปกติ ช่วยลดหรือแก้ไข | |
โรคความดันโลหิตสูงเนื่องจากมีโคเลสเตอรอลสูงได้ | |
3. โปรตีน | ข้าวโพดมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 4 โปรตีนในข้าวโพด |
มีประโยชน์ต่อร่างกายน้อย เพราะขาดกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย คือ | |
ไลซีน และทริบโตแฟน ดังนั้น จึงควรรับประทานข้าวโพดร่วมกับถั่วเมล็ด | |
แห้งต่าง ๆ เพื่อให้ข้าวโพดมีคุณค่าทางอาหารมากขึ้น | |
4. วิตามิน | ข้าวโพดมีวิตามินบี 1 และวิตามินบี 2 ในปริมาณ 0.08-0.18 มิลลิกรัม |
ต่อ 100 กรัม มีไนอะซีนในปริมาณต่ำ 1.1-1.5 มิลลิกรัม ประเทศที่มีการ | |
บริโภคข้าวโพดเป็นอาหารหลักจะเกิดเป็นโรคเพลลากา Pellagra กันมาก | |
เพราะขาดสารอาหารไนอะซีน สำหรับวิตามินเอ มีเฉพาะในข้าวโพดสีเหลือง | |
5. เกลือแร่ | ข้าวโพดมีส่วนประกอบเกลือแร่ที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย |
เช่น แคลเซียม และเหล็กแต่ก็มีในปริมาณน้อยมาก | |
1. ข้าวโพดรับประทานฝักสด คนไทยส่วนใหญ่บริโภคข้าวโพดในรูปอาหารหวาน หรืออาหารว่างระหว่างมื้ออาหาร โดยนำข้าวโพดที่เมล็ดยังไม่แก่เต็มที่มาต้ม นึ่ง หรือปิ้ง
ให้สุกใส่น้ำเกลือบ้าง ใส่เนยบ้าง เพื่อเพิ่มรสชาติ สำหรับความนิยมในชนิดหรือพันธุ์อาจมีแตกต่างกันไป อย่างไรก็ตามคุณภาพและรสชาติความหวานของข้าวโพดรับประ
ทานฝักสดจะขึ้นอยู่กับ
- อายุการเก็บเกี่ยวควรเก็บในช่วงระยะเวลาที่พอเหมาะเมล็ดโตเต็มที่หรือไหมเริ่มมีสีน้ำ
ตาล เช่น ข้าวโพดหวานควรเก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุประมาณ 65-70 วัน หลังปลูก
- ระยะเวลาการบริโภคภายหลังการเก็บเกี่ยวหรือเมื่อหักฝักจากต้นแล้วคุณภาพและรส
ชาติความหวานจะเริ่มลดลงยิ่งเก็บไว้นานก็ยิ่งจืดและเหนียวขึ้นทุกทีเนื่องจากน้ำตาลใน
เมล็ดข้าวโพดเปลี่ยนเป็นแป้งหมด
- การเก็บรักษาอุณหภูมิหรือแสงแดดจะทำให้ความหวานของเมล็ดข้าวโพลดดลงอย่าง
รวดเร็ว จึงควรเก็บในที่เย็นเพื่อช่วยรักษาคุณภาพและรสชาติไว้ได้บ้าง
2. ข้าวโพดฝักอ่อนคนไทยนิยมนำมาประกอบอาหารบริโภคในรูปฝักสดเช่นเดียว
กับหน่อไม้ฝรั่งต่างประเทศนิยมในรูปข้าวโพดฝักอ่อนบรรจุกระป๋องซึ่งมีหลายประเทศในยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น และฮ่องกงที่ซื้อข้าวโพดอ่อนบรรจุกระป๋องจากประเทศไทยเป็นสินค้า
อีกชนิดหนึ่งที่นำมูลค่าส่งออกสูงให้ประเทศ
- คุณภาพและรสชาติของข้าวโพดฝักอ่อนขึ้นอยู่กับ -
- อายุการเก็บเกี่ยวให้สังเกตจากไหมเริ่มโผล่พ้นจากปลายฝักประมาณ 1-2 ซม. ฝักบนสุดเป็นฝักแรก จะเจริญเติบโตเร็วมากและฝักอื่นๆถัดต่ำลงมาการหักฝักควรให้ติดลำต้นไป
ด้วยเพราะทำให้มองเห็นต้นที่เก็บเกี่ยวแล้วได้ต้นหนึ่งสามารถเก็บฝักอ่อนไ ด้2-3 ฝักเป็น
อย่างน้อย อายุการเก็บเกี่ยว 48-50 วัน หลังปลูกและมีช่วงระยะเวลาเก็บเกี่ยว 7-10 วัน
- ระยะเวลาบริโภคเมื่อเก็บแล้ว ควรประกอบอาหารรับประทานทันทีจะทำให้ได้คุณภาพ
และรสชาติดี
- การเก็บรักษาควรเก็บในที่เย็นจะช่วยรักษาคุณภาพและรสชาติได้บ้าง
3. ข้าวโพดเมล็ดแห้งข้าวโพดจัดเป็นอาหารจำพวกแป้งเช่นเดียวกับข้าวคนในประ
เทศแถบทวีปแอฟริกานิยมนำเมล็ดข้าวโพดมาแช่น้ำและบดทั้งเมล็ดด้วยโม่หินหรือเครื่องบด บีบน้ำออกแล้วนำมานึ่งรับประทาน ส่วนประเทศแถบทวีปอเมริกากลางและใต้มีผลิต
ภัณฑ์ข้าวโพดที่นิยมบริโภคเป็นอาหารหลักคือ ทอร์ทิลลา (Tortilla) โดยใช้เมล็ดข้าวโพด
แก่ทั้งเมล็ดแช่ในน้ำด่าง นำมาบดบีบน้ำออก นำมารีดแล้วตัดเป็นแผ่นบาง ๆ ทิ้งให้หมาด นำมาทอด รับประทานกับถั่วบดผสมเนื้อและใส่เครื่องเทศ
4. แป้งข้าวโพดได้จากการสกัดเอาแป้งจากเมล็ดข้าวโพดที่แก่และแห้งแล้วโดย
การโม่แยกส่วนคัพพะและเปลือกออกเหลือเอนโดสเปอร์ม ซึ่งเป็นส่วนของเนื้อแป้งไว้ แป้งข้าวโพดที่ได้มี3ลักษณะคือชนิดหยาบเรียกคอร์นกริท (corngrit) ค่อนข้างละเอียดเรียกว่าคอร์นมิล (cornmeal) และชนิดละเอียดเรียกแป้งข้าวโพด (cornflour) นอกจากนั้นยังมี
ผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งข้าวโพดในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เป็นอาหารเช้า (breakfast cereal) และขนมปังข้าวโพด ใช้เป็นแป้งชุบทอด ใช้เป็นน้ำซุปข้นราดบนอาหารหลายชนิด
สำหรับประเทศไทย นิยมใช้แป้งข้าวโพดน้อยมาก เนื่องจากมีราคาค่อนข้างแพง สามารถใช้แป้งมันสำปะหลังที่มีราคาถูกกว่าในการประกอบอาหารที่ต้องการความข้น-
หนืดและเหนียวแทนถึงแม้ว่าความหนืดจะไม่คงตัวหรือคืนตัวง่ายกว่าที่ใช้แป้งข้าวโพดก็ตาม
5. น้ำมันข้าวโพดเป็นน้ำมันที่สกัดจากเมล็ดข้าวโพดที่แก่ และแห้งแล้วประกอบด้วย
กรดไขมันไม่อิ่มตัวและมีกรดไขมันที่จำเป็นคือ กรดไลโนเลอิกอยู่มากน้ำมันข้าวโพดจัดเป็นน้ำมันที่มีคุณภาพดีและมีประโยชน์เหมาะแก่การบริโภคมากชนิดหนึ่งใช้ในการ
ประกอบอาหารหลายชนิด เช่น ทำน้ำมันสลัด ทำขนม ใช้ทอดอาหารต่าง ๆ
6. .น้ำเชื่อมข้าวโพด (cornsyrup) เป็นน้ำเชื่อมที่ได้จากการย่อยสลายแป้งข้าวโพด ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มและขนมหวานต่างๆ เนื่องจากมีคุณสมบัติไม่ตกผลึกและคงรูป
การใช้ประโยชน์อื่นๆ
นอกจากการใช้ประโยชน์ของข้าวโพดในรูปของอาหารแล้วยังใช้ประโยชน์ในอุต-
สาหกรรมเครื่องอุปโภคหลายชนิด เช่น ทำสบู่ น้ำมันใส่ผม น้ำหอม กระดาษยาผ้าเป็นต้น นอกจากนี้ฝักใบลำต้นยังอาจนำไปใช้ทำผลิตภัณฑ์ได้อีกหลายอย่างเช่น ปุ๋ยวัตถุฉนวนไฟฟ้าซังข้าวโพดแห้งใช้เป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มได้
การปลูกข้าวโพดหวาน (SWEET CORN)
ข้าวโพดหวาน อยู่ใน ตระกูล Gramineae ซึ่งเป็น ตระกูลเดียวกับหญ้าหรือข้าว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zeamays Line var. rugasa หรือ saccharata ข้าวโพดหวานมีคุณประโยชน์มากมาย นอกจากจะใช้ รับประทานเป็นผักสดแล้วยังสามารถนำไปแปรรูปได้ หลาย รูปแบบ เช่น ข้าวโพดหวานบรรจุึกระป๋องทั้งฝัก หรือบรรจุกระป๋องเฉพาะเมล็ด ทำครีมข้าวโพดหวาน ข้าวโพดแช่แข็ง ซึ่งผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เหล่านี้ สามารถส่งไปจำหน่ายยังตลาดต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน และกลุ่มประเทศในแถบยุโรปฤดูปลูก
ข้าวโพดหวานสามารถ ปลูกได้ตลอดปี แต่นิยมปลูกกันมากในช่วงฤดูฝน และสามารถปลูกได้ดีในดินทุกสภาพแต่จะขึ้นได้ดีในสภาพดินร่วนปนทรายจะทำให้ผล
ผลิตดีและเก็บเกี่ยวได้เร็วกว่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 6.0-6.5 ข้าวโพดหวานต้องการแสงแดด เต็มที่ตลอดวันอุณหภูมิที่เหมาะสม
อุณหภูมิที่เหมาะสมในการปลูกข้าวโพดหวานเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงที่สุดจะอยู่ใน
ช่วง 24-30 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิกลางคืนอยู่ในช่วง15-18องศาเซลเซียสจะทำให้ข้าวโพดหวานมีคุณภาพดีและมีความหวานสูง
การเตรียมแปลงปลูก
การปลูกข้าวโพดหวานจะแตกต่างจากการปลูกข้าวโพดไร่เพราะข้าวโพดหวาน
ต้องดูแล และปฏิบัติอย่างพิถีพิถันเช่นเดียวกับการปลูกพืชผักจึงจะได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ดังนั้นในการเตรียมดินและการปลูกต้องการทำอย่างประณีต โดยการไถดินลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตรแล้วตากทิ้งไว้ 7-10 วันเพื่อกำจัดไข่แมลงและเมล็ดวัชพืชหากมีการใส่ปุ๋ยคอกหรือหว่านปูนขาวเพื่อปรับ สภาพดินควรใส่ในช่วงนี้ แล้วจึงไถพรวนอีกครั้ง จากนั้นวัดระยะห่างระหว่างแถวประมาณ 80-100 เซนติเมตร ความยาวขึ้นอยู่กับ พื้นที่ ทำการขุดเป็นร่องลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร ถ้าหากสภาพดินแห้งไม่มีความชื้น ควรปล่อยน้ำเข้าตามร่อง หรือทำให้ดิน มีความชื้นบริเวณการปลูกข้าวโพดหวาน
ทำการเจาะหลุมปลูกบริเวณข้างๆ ร่อง ใช้ระยะห่างระหว่างหลุม(ต้น) ประมาณ 25-35 เซนติเมตร นำเมล็ดข้าวโพดหวานหยอดลงไป หลุมละ 1-2 เมล็ด ในพื้นที่ 1 ไร่ จะใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1-1.5 กิโลกรัม หลังหยอดเมล็ดแล้วไม่ควรปล่อยดินแห้งเกินไป ควรให้ดินมีความชื้นอย่างสม่ำเสมอไม่ควรให้น้ำมากเกินไปซึ่งจะทำให้เมล็ดข้าวโพด
เน่าได้หลังจากหยอดเมล็ดพันธุ์ 5-7 วันข้าวโพดก็จะเริ่มงอกให้สังเกตุดูว่าถ้าหลุมที่ไม่งอกให้รีบปลูกซ่อมทันที
การปฏิบัติดูแลรักษาข้าวโพดหวาน
1.การถอนแยกต้นควรกระทำหลังจากหยอดเมล็ด12-1 4วันโดยการถอนแยกให้
เหลือหลุมละ 1 ต้น2. การให้ปุ๋ย
ครั้งที่ 1 หลังจากหยอดเมล็ดประมาณ 14-10 วันโดยการใส่ปุ๋ย 46-0-0 ผสมกับปุ๋ย15-15-15ในอัตรา 1:1 (ประมาณ 50 ก.ก./ไร่) โดยหว่านที่ร่องน้ำข้างๆ ต้น แล้วกลบโคนต้น
ครั้งที่ 2 เมื่อข้าวโพดหวานเริ่มติดฝักอ่อนโดยการใส่ปุ๋ยสูตร 14-14-21 หรือ 13-13-21 อัตราประมาณ 50 ก.ก./ไร่ โดยหว่าน ที่ร่องพื้นแล้วกลบโคนต้น
-การให้น้ำให้น้ำอย่างสม่ำเสมออย่าให้ขาดน้ำโดยปล่อยเข้าตามร่องนให้แบบสปริงเกอร์
- การกำจัดวัชพืช กระทำพร้อมๆ กับการกลบโคนต้นและการให้ปุ๋ย
- การฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดโรคและแมลง การปลูกข้าวโพดหวานต้องระวังในเรื่องของหนอนเจาะฝัก หรือเจาะลำต้น ควรฉีดพ่น ยาพวกคาร์บาริล หรือยาพวกถูกตัวตาย เช่น เมทโธมิล
การเก็บเกี่ยวและการรักษา
การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้ข้าวโพดหวาน
มีคุณภาพดีหรือเลว ไม่ว่าจะเป็นข้าวโพดหวานเพื่อส่ง โรงงานหรือจำหน่ายฝักควรเลือกเก็บเกี่ยวในระยะที่มีน้ำตางสูงที่สุด และคุณภาพดีที่สุด หรือระยะที่เรียกว่า ระยะน้ำนม(Milk Stage) หากเลยระยะนี้ไปแล้วปริมาณน้ำตาลจะลดลงและมีแป้งเพิ่มขึ้น
การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานมีหลักพิจารณาง่ายๆ คือ
1. นับอายุหลังจากวันหยอดเมล็ดวิธีการนี้ต้องทราบอายุของข้าวโพดหวานแต่ละ
พันธุ์ว่าเป็นพันธุ์หนัก, เบา หรือปานกลาง เช่นพันธุ์เบา อายุ 55-65 วัน พันธุ์ปานกลาง 70-85 วันและพันธุ์หนักตั้งแต่ 90 วันขึ้นไปเก็บสุ่มตัวอย่างในแปลงมาตรวจดูวิธีนี้แน่นอนและนิยมกระทำกัีนมากที่สุดการเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานควรเก็บเกี่ยวในเวลาเช้าตรู่และ
รีบส่งตลาดทันที ไม่ควรทิ้งไว้เกิน 24 ชั่วโมง เพราะจะทำให้น้ำตาลลดลง
แหล่งที่มาของข้อมูล
http://web.ku.ac.th/agri/cornn/corn_b.htm
http://www.vegetweb.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%99/
_____________________________________________________________________
วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
บทสัมภาษณ์หนุ่มนักคิดเจ้าของรางวัลบรรจุภัณฑ์สาย USB จากเวที Thai Star Packaging 2010
ล่าสุดจากเวทีการประกวดบรรจุภัณฑ์ของไทย หรือที่เรียกว่า THAI STAR PACKAGING ประจำปี 2010 ที่ผ่านมาทางเราได้ไปเตะตาไอเดียรางวัลชนะเลิศจากเวทีนี้มา จะเป็นอย่างไรต้องติดตาม..!!!
การประกวดครั้งนี้ใช้โจทย์ภายใต้หัวข้อยอดฮิต Green Packaging ก็คือบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมนั่นเอง ซึ่งน้องนวัต ศักดิ์ศิริศิลป์ จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ก็คว้ารางวัลชนะเลิศนี้ไปครอง ผลงานที่น้องนวัตนั้นออกแบบก็คือ บรรจุภัณฑ์ของ สายUSB (UNIVERSEL USB POWER & DATA LINK)นั่นเอง
โดยแนวความคิดมาจาก ในปัจจุบันบรรจุภัณฑ์ของ สายUSB เป็นแบบใช้แล้วทิ้ง ไม่มีประโยชน์ต่อ ทำให้เหลือแต่สายUSB ซึ่งสายUSB ในเวลาใช้งานหรือเก็บก็ลำบากเพราะมีหลายสายง่ายต่อการพันกัน จึงได้มีแนวความคิดในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ของ สายUSB ที่ช่วยในการจัดระเบียบสายไฟให้ใช้งานได้ง่ายขึ้นและไม่ดูรกตาในเวลาใช้หรือเก็บ ซึ่งบรรจุภัณฑ์ชิ้นนี้ได้ออกแบบให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยสามารถใช้ควบคู่กับสาย USB ได้ เมื่อทิ้งก็สามารถนำมา Recycle ได้ มีการใช้ Soy Ink ในการพิมพ์ ลวดลายก็ใช้เพียงสีเดียว(หมึกน้อย) และยังสามารถคลี่ให้แบนราบเพื่อสะดวกต่อการขนส่งอีกด้วย
ทางทีมงาน Packaging City เห็นว่าผลงานของน้องนวัตนั้นทำได้อย่างยอดเยี่ยมในทุกมิติในการที่จะพัฒนาตัวบรรจุภัณฑ์ของ สาย USB เนื่องจากเข้ากับกระแสขยะเทคโนโลยีล้นโลก อีกทั้งยังสามารถโชว์ไอเดียทางด้านฟังก์ชั่นการใช้งานของกล่อง, การพับกล่อง, การเลือกใช้วัสดุ และเทคนิควิธีการพิมพ์ ซึ่งทั้งหมดนี้สามารถตอบโจทย์ Green Packaging ได้อย่างลงตัวเลยทีเดียว
ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://packagingcity.wordpress.com/2011/01/06/thaistar2010winner/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)